chichanan

วันเสาร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2551
การพิมพ์
บทที่ 1
การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า ฟหกด ่าสว
ฟ - นิ้วก้อยซ้าย
ห - นิ้วนางซ้าย
ก - นิ้วกลางซ้าย
ด - นิ้วชี้
อ่ - นิ้วชี้ขวา
า - นิ้วกลางขวา
ส - นิ้วนางขวา
ว - นิ้วก้อยขวา


บทที่ 2
การพิมพ์อักษรแป้น เ -้ ง
แป้น เ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาดีดที่แป้น เ
แป้น -้ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดที่แป้น -้
แป้น ง ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น ง


บทที่ 3
การพิมพ์อักษรแป้น พ ะ ี ั ำ ร
แป้น พ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น พ
แป้น ะ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ะ
แป้น ี ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ี
แป้น ั ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ั
แป้น ำ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ำ
แป้น ร ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ร


บทที่ 4
การพิมพ์อักษรแป้น อ ิ ท ื แ ม
แป้น อ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อ
แป้น -ิ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ิ
แป้น ท ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น ท
แป้น ื ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น ื
แป้น แ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น แ
แป้น ม ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดที่แป้น ม


บทที่ 5
การพิมพ์อักษรแป้น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
แป้น ไ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ไ
แป้น ป ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีดีที่แป้น ป
แป้น น ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น น
แป้น ใ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดที่แป้น ใ
แป้น ๆ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ๆ
แป้น ผ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ผ
แป้น ย ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ย


บทที่ 6
การพิมพ์อักษรแป้น บ ล ฝ -
แป้น บ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น บ
แป้น ล ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ล
แป้น ฝ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ลงไปดีดที่แป้น ฝ
แป้น - ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น -


บทที่ 7
การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต ึ ุ
แป้น ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถด
แป้น ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
แป้น ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
แป้น ต ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
แป้น ึ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ึ
แป้น ุ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ุ


บทที่ 8
การพิมพ์อักษรแป้น จ ข ช - /
แป้น จ ก้าวนิ้ว นางก้อย ขึ้นไปดีดที่แป้น จ
แป้น ข ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ข
แป้น ช ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ช
แป้น - ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น -
แป้น / ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น /


บทที่ 9
การพิมพ์อักษรแป้น โ ฌ อ็ อ๋ ฑ ธ อ๊ ณ
การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น โ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ซ้าย ดีดแป้น โ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ฌ ใช้นิ้ว ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปททางขวาดีดแป้น ฌ แป้นเดียวกับ เ
แป้นอ็ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดแป้น อ็ แป้นเดียวกับ โท
แป้นอ๋ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วก้าวนิ้วชี้ขวา ดีดแป้น อ๋ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้นธ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้ายขึ้นไปดีดที่ ธ แป้นเดียวกับ อะ
แป้น ฑ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้นฑ แป้นเดียวกับพ
แป้น อ๊ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น อ๊ แป้นเดียวกับ อี
แป้น ณ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ณ แป้นเดียวกับ ร


บทที่ 10
การพิมพ์อักษรแป้น ฎ ฏ ษ ฆ ศ
การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฎ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฎ แป้นเดียวกับ อำ
แป้น ฏ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ดีดแป้น ฏ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ษ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว กลางขวา ดีดแป้น ษ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น ศ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว นางขวา ดีดแป้น ศ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า


บทที่ 11
การพิมพ์อักษรแป้น ฮ ฉ ฒ อู อะ อ์ ?
การก้าวนิ้ว การวางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น ฮ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่ ฮ แป้นเดียวกับ อ
แป้น ฉ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ฉ แป้นเดียวกับ แ
แป้น ฒ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดแป้น ฒ แป้นเดียวกับ ม
แป้น อู ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ กาวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้นอู
แป้น อ์ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดแป้น อ์
แป้น ? ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดแป้น?


บทที่ 12
การพิมพ์อักษรแป้น ฤ () ฬ ซ ญ ฐ
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นพิมพ์
แป้น ฤ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้สใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ดีดแป้น ฤ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
แป้น( ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดแป้น ( แป้นเดียวกับ ผ
แป้น) ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีด ) แป้นเดียวกับ ป
แป้น ฬ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดแป้น ฬ
แป้นช ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้วก้อยขวา ดีดแป้น ช
แป้น ญ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้ไปดีดแป้น ญ
แป้น ฦ ใช้นิ้ว ก้อยซ้ายยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ลงมาดีดแป้น ฦ
แป้น ฐ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อย ขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฐ แป้นเดียวกับ บ


บทที่ 13
การพิมพ์อักษรแป้น 3 4 5 6 อํ . .
การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น 3 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 3 แป้นเดียวกับ ภ
แป้น 4 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 4 แป้นเดียว ถ
แป้น 5 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 5 แป้นเดียว ค
แป้น 6 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 6 แป้นเดียว ต
แป้น อํ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น อํ แป้นเดียว อั
แป้น . ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ไปทางขวาดีดแป้น . แป้นเดียว ง
แป้น . ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขี้นไปดีดแป้น . แป้นเดียวกับ อิ


บทที่ 14
การพิมพ์อักษรแป้น 0 1 2 7 8 9 , %
การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
แป้น 0 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 0 แป้นเดียว ๗
แป้น 1 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 1 แป้นเดียว /
แป้น 2 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 2 แป้นเดียว -
แป้น 7 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 7 แป้นเดียว จ
แป้น 8 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 8 แป้นเดียว ข
แป้น 9 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 9 แป้นเดียว ช
แป้น , ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น , แป้นเดียว ล
แป้น % ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดแป้น % แป้นเดียว -
posted by kpoona @ วันเสาร์, มิถุนายน 21, 2551   0 comments
วันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2551
สรุปบทที่1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์
ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็นวิธีการคำนวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการคำนวณอย่างง่าย ๆ คือ" กระดานคำนวณ" และ "ลูกคิด"
ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคำแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กำเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ คือ Blaise Pascal และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันคือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณและหารได้ด้วย
ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถโปแกรมได้ โดยเครื่องทอผ้านี้ใช้บัตรขนาดใหญ่ ซึ่งได้เจาะรู้ไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรมเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ
ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทำการสร้างเครื่องสำหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำ เรียกว่า difference engine และ Charles Babbage ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรก และผู้ร่วมงานของเขาคือ Augusta Ada Byron ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก
ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM ออกแบบคอมพิวเตอร์โดยใช้ทฤษฎีของ Babbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ซึ่งมีขนาดยาว 5 ฟุต ใช้พลังงานไฟฟ้าและใช้ relay แทนเฟือง แต่ยังทำงานได้ช้าคือใช้เวลาประมาณ 3-5 วินาทีสำหรับการคูณ
การพัฒนาที่สำคัญกับ Mark I ได้เกิดขึ้นปี 1946 โดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จาก University of Pennsylvnia ได้ออกแบบสร้างเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซึ่งทำงานได้เร็วอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนล้านวินาที ในขณะที่ Mark I ทำงานอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนพันล้านเท่า โดยหัวใจของความสำเร็จนี้อยู่ที่การใช้หลอดสูญญากาศมาแทนที่ relay นั่นเอง และถดจากนั้น Mauchly และ Eckert ก็ทำการสร้าง UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก การพัฒนาที่สำคัญได้เกิดขึ้นมาอีก เมื่อ Jonh von Neumann ซึ่งเป็นที่ปรึกษาของโครงการ ENIAC ได้เสนอแผนสำหรับคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่จะทำการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยโปรแกรมไว้ในหน่วยความจำที่เหมือนกับที่เก็บข้อมูล ซึ่งพัฒนาการนี้ทำให้สามารถเปลียนวงจรของคอมพิวเตอร์ได้โดยอัตโนมัติแทนที่จะต้องทำการเปลียนสวิทต์ด้วยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจากนี้ Dr. Von neumann ยังได้นำระบบเลขฐานสองมาใช้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งหบักการต่งๆเหล่านี้ได้ทำให้เครื่อง IAS ที่สร้างโดย Dr. von Neumann เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรกของโลก เป็นการเปิดศักราชของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริงและยังได้เป็นบิดาคอมพวเตอร์คนที่ 2
ยุคของคอมพิวเตอร์
ยุคที่ 1 (1951-1958) ก่อนหน้าปี 1951 เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีใช้เฉพาะนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทหารเท่านั้น จนกระทั่งผู้สร้าง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ได้จัดตั้งบริษัทเพื่อทำตลาดเชิงพาณิชย์ของเครื่องรุ่นถัดมาของพวกเขา คือเครื่อง UNIVAC ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) เป็นส่วนประกอบสำคัญ แต่หลอดสุญญากาศจะมีไม่น่าเชื่อถือสูง เป็นเหตุให้ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการทำให้เครื่องในยุคนั้นสามารถทำงานได้ ส่วนดรัมแม่เหล็กถูกใช้เป็นหน่วยความจำหลัก (primary memory) บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมากในยุคแรกนี้ ส่วนหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง (secondary storage) ซึ่งใช้เก็บทั้งข้อมูลและคำสั่งโปรแกรมในยุคนี้จะอยู่ในบัตรเจารู จนปลายยุคนี้เทปแม่เหล็กจึงได้ถูกนำมาใช้เป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง
ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะอยู่ในรูปของภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเลขฐาน 2 ทั้งสิ้น ทำให้ผู้ที่จะสามารถโปรแกรมให้เครื่องทำงานได้ ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น
กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
ยุคที่ 2 (1959-1964) การพัฒนาที่สำคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจำพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้ magnetic disk ซึ่งเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองที่มีความเร็ว
สูงขึ้น นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่คอมพิวเตอร์ได้ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซึ่งง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้างโปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อย่างรวดเร็วภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสำหรับยุคนี้ โปรแกรมเมอร์สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้ายคลืงกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้แต่เฉพาะกับภาษาเครื่อง ทำให้ต้องใช้โปรแกรมตัวอื่น คือ compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทำงานได้ช้ามาก ทำให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทำการพัฒนาเพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒนาระบบ มัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการจัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลอีกต่อไป
กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
ยุคที่ 3 (1965-1971)
ในยุคที่ 3 เป็นยุคของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ที่มีการเติบโตมาก ได้มีการนำ แผงวงจรรวม (IC หรือ integrated circuits) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้าที่รวอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็ก ๆ มาแทนการประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย ทำให้เวลาการทำงานขิงคอมพิวเตอร์ลดลงอยู่ในหน่วยหนึ่งส่วนพันล้านวินาที นอกจากนี้ มินิคอมพิวเตอร์ได้ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1965 คือเครื่อง PDP-8 ของ Digital Equipment Corportion (DEC) ซึ่งต่อมาก็มีการใช้มินิคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์กันอย่างแผร่หลาย รวมทั้งมีการใช้งาน เทอร์มินัล (terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ผ่านทาง คีย์บอร์ด (keyboard) ทำให้การป้อนข้อมูลและพัฒนาโปรแกรมกระทำได้สะดวกขึ้น ภาษาโปรแกรมระดับสูงได้เกิดขึ้นมากมานในยุคที่ 3 เช่น RPG APL BASICA เป็นต้น และได้มีการเปิดตัว โปรแกรมจัดการระบบ (Operating system) ซึ่งช่วยให้สามารถบริการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ระบบแบ่งเวลา (time sharing) ก็ทำให้สามารถติดต่อเทอร์มินัลจำนวนมากเข้าไปยังคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนสามารถทำงานในส่วนของตนได้พร้อม ๆ กันกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง
ยุคที่ 4 (1971-) ในยุคที่ 4 เทคโนโลยีแผงวงจรรวมได้พัฒนาขึ้นเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale integartion) และจากนั้นก็มีการพัฒนาต่าเป็น แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large-Scale integartion - VLSI) ซึ่งทำให้เกิด microprocessor ตัวโลกของโลก คือ Intel 4004 จากบริษัท Intel ซึ่งเป็นการใช้แผ่นชิฟเพียงแผ่นเดียวสำหรับเก็บ หน่วยควบคุม (control unit) และ คำนวณเลขตรรกะ (arithmetic-logic unit) ของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเทคนิคในการย่อทรานซีสเตอร์ให้อยู่กันอย่างหนาแน่นบนแผ่นซิลิกอนนี้ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากปัจจุบันสามารถเก็บทรานซิสเตอร์นับล้านตัวไว้ในชิปเพียงหนึ่งแผ่น ในส่วนของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง (secondary storage) ก็ได้เพิ่มความจุขึ้นอย่างมากจนสามารถเก็บข้อมูลนับพันล้านตัวอักษรได้ในแผ่นดิสก์ขนาด 3 นิ้ว
เนื่องจากการเพิ่มความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจำนวณมหาศาลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data base ) นอกจากนี้ ยังมีการถือกำเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้ชิป intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตามลำดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีการพัฒนาให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการนำเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนา
การพัฒนาที่สำคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ายท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกันในพื้นที่ไท่ห่าวกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทำหน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลคนละซีกโลกเข้าด้วยกัน คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง
ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551   0 comments
แนวข้อสอบ
1.ในสมัยศตวรรษที่19 เครื่องสำหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำ เรียกว่าอะไร?....
( difference engine)
2.ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรกคือใคร?....

(Charles Babbage)
3.ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลกคือใคร?....

(Augusta Ada Byron)
4.หากเปรียบเทียบกับคน สิ่งใดคือสมองของคอมพิวเตอร์?....

(cpu)
5.microprocessor ตัวโลกของโลก คือ?....

( Intel 4004)
6.คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก คือ?....

(UNIVAC)
7.คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ประสิทธิภาพสูง และมีราคาแพงที่สุดคือ?....

(Supercomputer)
8.ทรัพยากรที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ได้แก่บ้าง?....

( 1.CPU 2.Memory 3.Disk Storage 4.Input/Output Device)
9.บริษัทที่ทำการค้าคอมพิวเตอร์เป็นเจ้าแรกคือ?....

(IBM)
10.ยุคของคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็นกี่ยุค?....

(5ยุค)

จากคำถามต่อไปนี้ให้ตอบว่า ถูก หรือ ผิด
1. A Byron ugusta Ada ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก_____(ถูก)
2. Jonh Von Neumann ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรก_____(ผิด)
3. ENIAC เป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก _____(ผิด)
4. 1024 MB เท่ากับ 1 GB_____(ถูก)
5. 8 bit เท่ากับ 1 byte_____(ถูก)
6. หน่วยในพันล้านของวินาที เรียกว่า Nanosecond_____(ถูก)
7. สำหรับคอมพิวเตอร์แบบพกพา ไม่ควรใช้แบตเตอร์รี่แบบ ลิเธียมไอออน เพราะว่ามีอายุการใช้งานน้อย_____(ผิด)
8. CPU เปรียบได้เสมือนหัวใจของคอมพิวเตอร์_____(ผิด)
9. ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์_____(ถูก)
10. ภาษาระดับต่ำประกอบด้วยเลขฐานสอง ได่แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า ภาษาเครื่อง_____(ถูก)
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551   0 comments
blog เพื่อนๆ (วิทยาการคอมฯ)
1 5122252101 นายนพกานต์ โวหาร 2.636/33 , http://noppakan32.blogspot.com/ ,nppknwhnr.87@gmail.com ,0856128362
2 5122252102 นายทรงพล ธรรมวัตร 2.045/33 http://army25.blogspot.com/ , army255@hotmail.com,0834650455
3 5122252103 นายชาคริต พรมศรี 2.100/30 http://bob-by.blogspot.com/ ,bobob01@hotmail.com ,
5 5122252106 นางสาวอรทัย สีสัน 3.091/33 http://blogspot.com
6 5122252107 นายวิชัย สีสัน 2.714/21 http://blogspot.com
7 5122252108 นายประมินทร์ วิญญายงค์ 2.875/24 http://blogspot.com
8 5122252109 นายสุรเชษฐ สาระไอ 2.545/33 http://blogspot.com
9 5122252110 นางสาวชิชาณัณ แซ่ตั้ง 3.143/21 , http://kpoona.blogspot.com/ ,kpoona@hotmail.com ,0840359113
10 5122252111 นายจิรายุ จันทร์ดา 3.091/33 http://jirayu10.blogspot.com/ ,kjanda1880@gmail.com ,
11 5122252113 นายโกวิท เขียวพันธ์ 2.250/24 http://blogspot.com
12 5122252114 นางสาวขวัญสุดา พงษ์ธนู 2.688/24 http://blogspot.com
15 5122252117 นางสาวปภาดา จินาพันธ์ 2.818/33 http://eeflovely.blogspot.com/ ,papada_eff@msn.com ,0841366878
16 5122252118 สิบตำรวจเอกนิกร คำเหลี่ยม 2.636/33 http://linkan99.blogspot.com/ ,linkan5454@gmail.com , 0894269556
17 5122252122 นางสาวพัฑฒิดา ผาคำ 3.000/21 http://blogspot.com
18 5122252123 นางสาวสมัชญา โพธิ์คำ 1.917/18 http://blogspot.com
19 5122252124 นายกิตติศักดิ์ มั่นทองพิทักษ์ 3.188/24 http://blogspot.com
20 5122252126 นายอภิรักษ์ บุตรวงษ์ 2.000/21 http://apilukssk.blogspot.com/ ,golfssk@hotmail.com ,0810716077
21 5122252128 นางสาวจารุวรรณ ถนอม 3.313/24 http://jujaruwan.blogspot.com/ ,ju_ultragirl@hotmail.com ,0837451897
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551   0 comments
รหัส Ascii (American Standard Code for Information Interchange)
A=41 ,B=42 ,C=43 ,D=44 ,E=45 ,F=46 ,G=47 ,H=48 ,I=49 ,J=4A ,K=4B ,L=4C ,M=4D ,N=4E ,O=4F ,P=50 ,Q=51 ,R=52 ,S=53 ,T=54 ,U=55 ,V=56 ,W=57 ,X=58 ,Y=59 ,Z=5A


CHICHANAN

C = 43 , H = 48 , I = 49 , C = 43 , H = 48 , A = 41 , N = 4E , A = 41 , N = 4E

SAETANG

S = 53 , A = 41 , E = 45 ,T = 54 , A = 41 , N = 4E , G = 47



CHICHANAN

C=0100 0011
H=0100 1000
I=0100 1001
C=0100 0011
H=0100 1000
A=0100 0001
N=0100 1110
A=0100 0001
N=0100 1110


SAETANG

S=0101 0011
A=0100 0001
E=0100 0101
T=0101 0100
A=0100 0001
N=0100 1110
G=0100 0111
--------------------------------------
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551   0 comments
มีกลอนดีๆมาฝาก
อนาคตยังอีกไกล
ฝันไว้อย่างไรขอให้ไปให้ถึง
เราคนนี้ซึ่งคอยให้กำลังใจ
แต่ละคนต่างก็มีฝัน
จะต่างกันก็ตรงที่จุดหมาย
สิ่งที่ฝันใช่ว่าจะไปถึงได้ง่ายดาย
ยังต้องการกำลังใจจากหลายคน









มาตามเก็บความฝันที่ทำหล่น
เดินมาไกลเสียจนใจอ่อนล้า
กระจัดกระจาย ทิศทางดูบางตา
จะเก็บฝัน มาต่อเรียงราย
รู้สึกขาดไปบ้าง ในบางสิ่ง
ฝันคงไม่เป็นจริงดังใจหมาย
เฝ้าติดตามถ้วนทั่วกว่าจะคลาย
ที่ขาดหาย คือ รัก - รัก นี่เอง
จะตามรักพบได้อย่างไรกัน
จะหาจากไหนนั้นฝันคงเคว้ง
หากมีรักแน่แท้ ฉันไม่เกรง
จะเขย่งเอื้อมมือ..หากคือรัก.






กะปูนา สวัสดีค่ะ หากเพื่อนๆต้องการติดต่อ tel มาที่ 0840359113 ปูนารับสายเจ้าค่ะ
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551   0 comments
About Me

Name: kpoona
Home:
About Me:
See my complete profile
Previous Post
Archives
YOUR TITLE HERE

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis ligula lorem, consequat eget, tristique nec, auctor quis, purus. Vivamus ut sem. Fusce aliquam nunc vitae purus.

Links
Powered by

BLOGGER