วันเสาร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2551 |
การพิมพ์ |
บทที่ 1 การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า ฟหกด ่าสว ฟ - นิ้วก้อยซ้าย ห - นิ้วนางซ้าย ก - นิ้วกลางซ้าย ด - นิ้วชี้ อ่ - นิ้วชี้ขวา า - นิ้วกลางขวา ส - นิ้วนางขวา ว - นิ้วก้อยขวา
บทที่ 2 การพิมพ์อักษรแป้น เ -้ ง แป้น เ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาดีดที่แป้น เ แป้น -้ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดที่แป้น -้ แป้น ง ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น ง
บทที่ 3 การพิมพ์อักษรแป้น พ ะ ี ั ำ ร แป้น พ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น พ แป้น ะ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ะ แป้น ี ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ี แป้น ั ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ั แป้น ำ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ำ แป้น ร ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ร
บทที่ 4 การพิมพ์อักษรแป้น อ ิ ท ื แ ม แป้น อ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อ แป้น -ิ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ิ แป้น ท ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น ท แป้น ื ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น ื แป้น แ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น แ แป้น ม ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดที่แป้น ม
บทที่ 5 การพิมพ์อักษรแป้น ไ ป น ใ ๆ ผ ย แป้น ไ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ไ แป้น ป ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีดีที่แป้น ป แป้น น ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น น แป้น ใ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดที่แป้น ใ แป้น ๆ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ๆ แป้น ผ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ผ แป้น ย ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ย
บทที่ 6 การพิมพ์อักษรแป้น บ ล ฝ - แป้น บ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น บ แป้น ล ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ล แป้น ฝ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ลงไปดีดที่แป้น ฝ แป้น - ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้น -
บทที่ 7 การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต ึ ุ แป้น ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถด แป้น ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ แป้น ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค แป้น ต ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต แป้น ึ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ึ แป้น ุ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ุ
บทที่ 8 การพิมพ์อักษรแป้น จ ข ช - / แป้น จ ก้าวนิ้ว นางก้อย ขึ้นไปดีดที่แป้น จ แป้น ข ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ข แป้น ช ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ช แป้น - ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น - แป้น / ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น /
บทที่ 9 การพิมพ์อักษรแป้น โ ฌ อ็ อ๋ ฑ ธ อ๊ ณ การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า แป้น โ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ซ้าย ดีดแป้น โ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า แป้น ฌ ใช้นิ้ว ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปททางขวาดีดแป้น ฌ แป้นเดียวกับ เ แป้นอ็ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดแป้น อ็ แป้นเดียวกับ โท แป้นอ๋ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วก้าวนิ้วชี้ขวา ดีดแป้น อ๋ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า แป้นธ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้ายขึ้นไปดีดที่ ธ แป้นเดียวกับ อะ แป้น ฑ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้นฑ แป้นเดียวกับพ แป้น อ๊ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดแป้น อ๊ แป้นเดียวกับ อี แป้น ณ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ณ แป้นเดียวกับ ร
บทที่ 10 การพิมพ์อักษรแป้น ฎ ฏ ษ ฆ ศ การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า แป้น ฎ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฎ แป้นเดียวกับ อำ แป้น ฏ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ดีดแป้น ฏ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า แป้น ษ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว กลางขวา ดีดแป้น ษ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า แป้น ศ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว นางขวา ดีดแป้น ศ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า
บทที่ 11 การพิมพ์อักษรแป้น ฮ ฉ ฒ อู อะ อ์ ? การก้าวนิ้ว การวางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า แป้น ฮ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่ ฮ แป้นเดียวกับ อ แป้น ฉ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ฉ แป้นเดียวกับ แ แป้น ฒ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดแป้น ฒ แป้นเดียวกับ ม แป้น อู ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ กาวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดแป้นอู แป้น อ์ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดแป้น อ์ แป้น ? ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดแป้น?
บทที่ 12 การพิมพ์อักษรแป้น ฤ () ฬ ซ ญ ฐ การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นพิมพ์ แป้น ฤ ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้สใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ดีดแป้น ฤ แป้นเดียวกับแป้นเหย้า แป้น( ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดแป้น ( แป้นเดียวกับ ผ แป้น) ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีด ) แป้นเดียวกับ ป แป้น ฬ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดแป้น ฬ แป้นช ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้วก้อยขวา ดีดแป้น ช แป้น ญ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้ไปดีดแป้น ญ แป้น ฦ ใช้นิ้ว ก้อยซ้ายยกแคร่ ก้าวนิ้วก้อยขวา ลงมาดีดแป้น ฦ แป้น ฐ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อย ขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฐ แป้นเดียวกับ บ
บทที่ 13 การพิมพ์อักษรแป้น 3 4 5 6 อํ . . การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า แป้น 3 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 3 แป้นเดียวกับ ภ แป้น 4 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 4 แป้นเดียว ถ แป้น 5 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 5 แป้นเดียว ค แป้น 6 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น 6 แป้นเดียว ต แป้น อํ ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ แล้วใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น อํ แป้นเดียว อั แป้น . ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ไปทางขวาดีดแป้น . แป้นเดียว ง แป้น . ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขี้นไปดีดแป้น . แป้นเดียวกับ อิ
บทที่ 14 การพิมพ์อักษรแป้น 0 1 2 7 8 9 , % การวางนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า แป้น 0 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 0 แป้นเดียว ๗ แป้น 1 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 1 แป้นเดียว / แป้น 2 ใช้นิ้ว ก้อยขวา ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 2 แป้นเดียว - แป้น 7 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดแป้น 7 แป้นเดียว จ แป้น 8 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 8 แป้นเดียว ข แป้น 9 ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น 9 แป้นเดียว ช แป้น , ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดแป้น , แป้นเดียว ล แป้น % ใช้นิ้ว ก้อยซ้าย ยกแคร่ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดแป้น % แป้นเดียว - |
posted by kpoona @ วันเสาร์, มิถุนายน 21, 2551 |
|
|
วันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2551 |
สรุปบทที่1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ |
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์ ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็นวิธีการคำนวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการคำนวณอย่างง่าย ๆ คือ" กระดานคำนวณ" และ "ลูกคิด" ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคำแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กำเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ คือ Blaise Pascal และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันคือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณและหารได้ด้วย ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถโปแกรมได้ โดยเครื่องทอผ้านี้ใช้บัตรขนาดใหญ่ ซึ่งได้เจาะรู้ไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรมเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทำการสร้างเครื่องสำหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำ เรียกว่า difference engine และ Charles Babbage ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรก และผู้ร่วมงานของเขาคือ Augusta Ada Byron ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM ออกแบบคอมพิวเตอร์โดยใช้ทฤษฎีของ Babbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ซึ่งมีขนาดยาว 5 ฟุต ใช้พลังงานไฟฟ้าและใช้ relay แทนเฟือง แต่ยังทำงานได้ช้าคือใช้เวลาประมาณ 3-5 วินาทีสำหรับการคูณ การพัฒนาที่สำคัญกับ Mark I ได้เกิดขึ้นปี 1946 โดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จาก University of Pennsylvnia ได้ออกแบบสร้างเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซึ่งทำงานได้เร็วอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนล้านวินาที ในขณะที่ Mark I ทำงานอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนพันล้านเท่า โดยหัวใจของความสำเร็จนี้อยู่ที่การใช้หลอดสูญญากาศมาแทนที่ relay นั่นเอง และถดจากนั้น Mauchly และ Eckert ก็ทำการสร้าง UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก การพัฒนาที่สำคัญได้เกิดขึ้นมาอีก เมื่อ Jonh von Neumann ซึ่งเป็นที่ปรึกษาของโครงการ ENIAC ได้เสนอแผนสำหรับคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่จะทำการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยโปรแกรมไว้ในหน่วยความจำที่เหมือนกับที่เก็บข้อมูล ซึ่งพัฒนาการนี้ทำให้สามารถเปลียนวงจรของคอมพิวเตอร์ได้โดยอัตโนมัติแทนที่จะต้องทำการเปลียนสวิทต์ด้วยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจากนี้ Dr. Von neumann ยังได้นำระบบเลขฐานสองมาใช้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งหบักการต่งๆเหล่านี้ได้ทำให้เครื่อง IAS ที่สร้างโดย Dr. von Neumann เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรกของโลก เป็นการเปิดศักราชของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริงและยังได้เป็นบิดาคอมพวเตอร์คนที่ 2 ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (1951-1958) ก่อนหน้าปี 1951 เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีใช้เฉพาะนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทหารเท่านั้น จนกระทั่งผู้สร้าง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ได้จัดตั้งบริษัทเพื่อทำตลาดเชิงพาณิชย์ของเครื่องรุ่นถัดมาของพวกเขา คือเครื่อง UNIVAC ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) เป็นส่วนประกอบสำคัญ แต่หลอดสุญญากาศจะมีไม่น่าเชื่อถือสูง เป็นเหตุให้ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการทำให้เครื่องในยุคนั้นสามารถทำงานได้ ส่วนดรัมแม่เหล็กถูกใช้เป็นหน่วยความจำหลัก (primary memory) บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมากในยุคแรกนี้ ส่วนหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง (secondary storage) ซึ่งใช้เก็บทั้งข้อมูลและคำสั่งโปรแกรมในยุคนี้จะอยู่ในบัตรเจารู จนปลายยุคนี้เทปแม่เหล็กจึงได้ถูกนำมาใช้เป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะอยู่ในรูปของภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นตัวเลขฐาน 2 ทั้งสิ้น ทำให้ผู้ที่จะสามารถโปรแกรมให้เครื่องทำงานได้ ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำลังไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC) ยุคที่ 2 (1959-1964) การพัฒนาที่สำคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจำพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้ magnetic disk ซึ่งเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองที่มีความเร็ว สูงขึ้น นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่คอมพิวเตอร์ได้ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซึ่งง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้างโปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อย่างรวดเร็วภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสำหรับยุคนี้ โปรแกรมเมอร์สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้ายคลืงกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้แต่เฉพาะกับภาษาเครื่อง ทำให้ต้องใช้โปรแกรมตัวอื่น คือ compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทำงานได้ช้ามาก ทำให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทำการพัฒนาเพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒนาระบบ มัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการจัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลอีกต่อไป กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำ มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จานแม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียนเป็นประโยคที่คนสามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาฟอร์แทน ภาษาโคบอล เป็นต้น ภาษาระดับสูงนี้ได้มีการพัฒนาและใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน ยุคที่ 3 (1965-1971) ในยุคที่ 3 เป็นยุคของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ที่มีการเติบโตมาก ได้มีการนำ แผงวงจรรวม (IC หรือ integrated circuits) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้าที่รวอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็ก ๆ มาแทนการประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย ทำให้เวลาการทำงานขิงคอมพิวเตอร์ลดลงอยู่ในหน่วยหนึ่งส่วนพันล้านวินาที นอกจากนี้ มินิคอมพิวเตอร์ได้ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1965 คือเครื่อง PDP-8 ของ Digital Equipment Corportion (DEC) ซึ่งต่อมาก็มีการใช้มินิคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์กันอย่างแผร่หลาย รวมทั้งมีการใช้งาน เทอร์มินัล (terminal) ซึ่งเป็นจอคอมพิวเตอร์ผ่านทาง คีย์บอร์ด (keyboard) ทำให้การป้อนข้อมูลและพัฒนาโปรแกรมกระทำได้สะดวกขึ้น ภาษาโปรแกรมระดับสูงได้เกิดขึ้นมากมานในยุคที่ 3 เช่น RPG APL BASICA เป็นต้น และได้มีการเปิดตัว โปรแกรมจัดการระบบ (Operating system) ซึ่งช่วยให้สามารถบริการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ระบบแบ่งเวลา (time sharing) ก็ทำให้สามารถติดต่อเทอร์มินัลจำนวนมากเข้าไปยังคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง โดยที่ผู้ใช้แต่ละคนสามารถทำงานในส่วนของตนได้พร้อม ๆ กันกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหย่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมีทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็นโปรแกรมย่อย ๆ ในการกำหนดชุดคำสั่งต่าง ๆ ทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบ่งเวลาการทำงานให้กับงานหลาย ๆ อย่าง ยุคที่ 4 (1971-) ในยุคที่ 4 เทคโนโลยีแผงวงจรรวมได้พัฒนาขึ้นเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale integartion) และจากนั้นก็มีการพัฒนาต่าเป็น แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large-Scale integartion - VLSI) ซึ่งทำให้เกิด microprocessor ตัวโลกของโลก คือ Intel 4004 จากบริษัท Intel ซึ่งเป็นการใช้แผ่นชิฟเพียงแผ่นเดียวสำหรับเก็บ หน่วยควบคุม (control unit) และ คำนวณเลขตรรกะ (arithmetic-logic unit) ของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเทคนิคในการย่อทรานซีสเตอร์ให้อยู่กันอย่างหนาแน่นบนแผ่นซิลิกอนนี้ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากปัจจุบันสามารถเก็บทรานซิสเตอร์นับล้านตัวไว้ในชิปเพียงหนึ่งแผ่น ในส่วนของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง (secondary storage) ก็ได้เพิ่มความจุขึ้นอย่างมากจนสามารถเก็บข้อมูลนับพันล้านตัวอักษรได้ในแผ่นดิสก์ขนาด 3 นิ้ว เนื่องจากการเพิ่มความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้สามารถเก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจำนวณมหาศาลที่ถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data base ) นอกจากนี้ ยังมีการถือกำเนิดขึ้นของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1975 คือเครื่อง Altair ซึ่งใช้ชิป intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเครื่อง และ ตามลำดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีการพัฒนาให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการนำเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object-Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนา การพัฒนาที่สำคัญอื่นๆในยุคที่ 4 คือการพัฒนาเครื่องข่ายคอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น ระบบเครื่อข่ายท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเชื่องโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกันในพื้นที่ไท่ห่าวกันนัก ส่วนระบบเครื่องข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทำหน้าที่เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลคนละซีกโลกเข้าด้วยกัน คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสนตัว ทำให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโต๊ะในสำนักงานหรือพกพาเหมือนกระเป๋าหิ้วไปในที่ต่าง ๆ ได้ ขณะเดียวกันระบบซอฟต์แวร์ก็ได้พัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสำเร็จให้เลือกใช้กันมากทำให้เกิดความสะดวกในการใช้งานอย่างกว้างขวาง ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง |
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551 |
|
|
|
แนวข้อสอบ |
1.ในสมัยศตวรรษที่19 เครื่องสำหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำ เรียกว่าอะไร?.... ( difference engine) 2.ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรกคือใคร?.... (Charles Babbage) 3.ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลกคือใคร?.... (Augusta Ada Byron) 4.หากเปรียบเทียบกับคน สิ่งใดคือสมองของคอมพิวเตอร์?.... (cpu) 5.microprocessor ตัวโลกของโลก คือ?.... ( Intel 4004) 6.คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก คือ?.... (UNIVAC) 7.คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ประสิทธิภาพสูง และมีราคาแพงที่สุดคือ?.... (Supercomputer) 8.ทรัพยากรที่สำคัญของคอมพิวเตอร์ได้แก่บ้าง?.... ( 1.CPU 2.Memory 3.Disk Storage 4.Input/Output Device) 9.บริษัทที่ทำการค้าคอมพิวเตอร์เป็นเจ้าแรกคือ?.... (IBM) 10.ยุคของคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็นกี่ยุค?.... (5ยุค)
จากคำถามต่อไปนี้ให้ตอบว่า ถูก หรือ ผิด 1. A Byron ugusta Ada ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก_____(ถูก) 2. Jonh Von Neumann ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรก_____(ผิด) 3. ENIAC เป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก _____(ผิด) 4. 1024 MB เท่ากับ 1 GB_____(ถูก) 5. 8 bit เท่ากับ 1 byte_____(ถูก) 6. หน่วยในพันล้านของวินาที เรียกว่า Nanosecond_____(ถูก) 7. สำหรับคอมพิวเตอร์แบบพกพา ไม่ควรใช้แบตเตอร์รี่แบบ ลิเธียมไอออน เพราะว่ามีอายุการใช้งานน้อย_____(ผิด) 8. CPU เปรียบได้เสมือนหัวใจของคอมพิวเตอร์_____(ผิด) 9. ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์_____(ถูก) 10. ภาษาระดับต่ำประกอบด้วยเลขฐานสอง ได่แก่ 0 และ 1 หรือเรียกว่า ภาษาเครื่อง_____(ถูก) |
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551 |
|
|
|
blog เพื่อนๆ (วิทยาการคอมฯ) |
1 5122252101 นายนพกานต์ โวหาร 2.636/33 , http://noppakan32.blogspot.com/ ,nppknwhnr.87@gmail.com ,0856128362 2 5122252102 นายทรงพล ธรรมวัตร 2.045/33 http://army25.blogspot.com/ , army255@hotmail.com,0834650455 3 5122252103 นายชาคริต พรมศรี 2.100/30 http://bob-by.blogspot.com/ ,bobob01@hotmail.com , 5 5122252106 นางสาวอรทัย สีสัน 3.091/33 http://blogspot.com 6 5122252107 นายวิชัย สีสัน 2.714/21 http://blogspot.com 7 5122252108 นายประมินทร์ วิญญายงค์ 2.875/24 http://blogspot.com 8 5122252109 นายสุรเชษฐ สาระไอ 2.545/33 http://blogspot.com 9 5122252110 นางสาวชิชาณัณ แซ่ตั้ง 3.143/21 , http://kpoona.blogspot.com/ ,kpoona@hotmail.com ,0840359113 10 5122252111 นายจิรายุ จันทร์ดา 3.091/33 http://jirayu10.blogspot.com/ ,kjanda1880@gmail.com , 11 5122252113 นายโกวิท เขียวพันธ์ 2.250/24 http://blogspot.com 12 5122252114 นางสาวขวัญสุดา พงษ์ธนู 2.688/24 http://blogspot.com 15 5122252117 นางสาวปภาดา จินาพันธ์ 2.818/33 http://eeflovely.blogspot.com/ ,papada_eff@msn.com ,0841366878 16 5122252118 สิบตำรวจเอกนิกร คำเหลี่ยม 2.636/33 http://linkan99.blogspot.com/ ,linkan5454@gmail.com , 0894269556 17 5122252122 นางสาวพัฑฒิดา ผาคำ 3.000/21 http://blogspot.com 18 5122252123 นางสาวสมัชญา โพธิ์คำ 1.917/18 http://blogspot.com 19 5122252124 นายกิตติศักดิ์ มั่นทองพิทักษ์ 3.188/24 http://blogspot.com 20 5122252126 นายอภิรักษ์ บุตรวงษ์ 2.000/21 http://apilukssk.blogspot.com/ ,golfssk@hotmail.com ,0810716077 21 5122252128 นางสาวจารุวรรณ ถนอม 3.313/24 http://jujaruwan.blogspot.com/ ,ju_ultragirl@hotmail.com ,0837451897
|
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551 |
|
|
|
รหัส Ascii (American Standard Code for Information Interchange) |
A=41 ,B=42 ,C=43 ,D=44 ,E=45 ,F=46 ,G=47 ,H=48 ,I=49 ,J=4A ,K=4B ,L=4C ,M=4D ,N=4E ,O=4F ,P=50 ,Q=51 ,R=52 ,S=53 ,T=54 ,U=55 ,V=56 ,W=57 ,X=58 ,Y=59 ,Z=5A
CHICHANAN
C = 43 , H = 48 , I = 49 , C = 43 , H = 48 , A = 41 , N = 4E , A = 41 , N = 4E
SAETANG
S = 53 , A = 41 , E = 45 ,T = 54 , A = 41 , N = 4E , G = 47
CHICHANAN
C=0100 0011 H=0100 1000 I=0100 1001 C=0100 0011 H=0100 1000 A=0100 0001 N=0100 1110 A=0100 0001 N=0100 1110
SAETANG
S=0101 0011 A=0100 0001 E=0100 0101 T=0101 0100 A=0100 0001 N=0100 1110 G=0100 0111 -------------------------------------- |
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551 |
|
|
|
มีกลอนดีๆมาฝาก |
อนาคตยังอีกไกล ฝันไว้อย่างไรขอให้ไปให้ถึง เราคนนี้ซึ่งคอยให้กำลังใจ แต่ละคนต่างก็มีฝัน จะต่างกันก็ตรงที่จุดหมาย สิ่งที่ฝันใช่ว่าจะไปถึงได้ง่ายดาย ยังต้องการกำลังใจจากหลายคน
มาตามเก็บความฝันที่ทำหล่น เดินมาไกลเสียจนใจอ่อนล้า กระจัดกระจาย ทิศทางดูบางตา จะเก็บฝัน มาต่อเรียงราย รู้สึกขาดไปบ้าง ในบางสิ่ง ฝันคงไม่เป็นจริงดังใจหมาย เฝ้าติดตามถ้วนทั่วกว่าจะคลาย ที่ขาดหาย คือ รัก - รัก นี่เอง จะตามรักพบได้อย่างไรกัน จะหาจากไหนนั้นฝันคงเคว้ง หากมีรักแน่แท้ ฉันไม่เกรง จะเขย่งเอื้อมมือ..หากคือรัก.
กะปูนา สวัสดีค่ะ หากเพื่อนๆต้องการติดต่อ tel มาที่ 0840359113 ปูนารับสายเจ้าค่ะ |
posted by kpoona @ วันอาทิตย์, มิถุนายน 08, 2551 |
|
|
|
|
About Me |
Name: kpoona
Home:
About Me:
See my complete profile
|
Previous Post |
|
Archives |
|
YOUR TITLE HERE |
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit. Duis ligula lorem, consequat eget, tristique nec, auctor quis, purus. Vivamus ut sem. Fusce aliquam nunc vitae purus. |
Links |
|
Powered by |
|
|